วันพฤหัสบดีที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2557

                       

Science Experiences Management for Early Childhood

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ  

 สรุปวีดีโอ
เรื่องการกระต­ุ้นเด็กๆให้อยากเรียนรู้ธรรมชาติรอบตัว





กระตุ้นการเรียนรูของเด็กๆด้วยของเล่นและการ

ทดลอง จากหลักการวิทยาศาสตร์ ของเล่นและกา

รทดลองควรเป็นสิ่งที่หาง่ายๆ เด็กๆจะได้มีโอกาส

ทำเองมากๆ และครูไม่ควรไปกีดกั้นพัฒนาการเด็ก 

ลองให้เด้กได้คิดเองตามความคิดของเขาก่อน







Science Experiences Management for Early Childhood

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ  


สรุปวิจัย
เรื่องทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัยที่ได้รับ
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ กับแบบสืบเสาะหาความรู้
Basic Science Process Skills of Early Childhood Received from Using Project
Approach and Inquiry Methods
วิลา มณีอินทร์   วิไล ทองแผ่ กิรณา เกี๋ยสกุล

การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบ 1) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของเด็ก
ปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ 2) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น
พื้นฐาน ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ และ 3) ทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการกับแบบ
สืบเสาะหาความรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ เด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2556 จํานวน 50 คน จาก 15 โรงเรียนของกลุ่มโรงเรียนเก้าสุพรรณิการ์สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1 ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบ 2 ขั้นตอน (two stage sampling)
คือ ขั้นที่ 1 สุ่มอย่างง่ายโดยการจับสลากใช้โรงเรียนเป็นหน่วยสุ่มจาก 15 โรงเรียน ให้เหลือ 2 โรงเรียน ได้แก่
โรงเรียนวัดวังน้ําเย็น จํานวนเด็กปฐมวัย 28 คน และโรงเรียนวัดคูบัว จํานวนเด็กปฐมวัย 22 คน ขั้นที่ 2
สุ่มอย่างง่ายโดยการจับสลาก เพื่อเลือกวิธีการจัดประสบการณ์ ได้แก่ โรงเรียนวัดวังน้ําเย็น เป็นกลุ่มที่1
ใช้วิธีการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ และโรงเรียนวัดคูบัว เป็นกลุ่มที่ 2 ใช้วิธีการจัดประสบการณ์การ
เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบโครงการ
2) แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้และ 3) แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.813 วิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติการ
ทดสอบที
ผลการวิจัยพบว่า
 1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของเด็กปฐมวัย หลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบ
โครงการ สูงกว่าก่อนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
 2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของเด็กปฐมวัย หลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
แบบสืบเสาะหาความรู้สูงกว่าก่อนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
 3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
แบบโครงการกับแบบสืบเสาะหาความรู้ไม่แตกต่างกัน

บันทึกการเรียนครั้งที่ 15

Science Experiences Management for Early Childhood

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ  
                     
     เวลาเข้าสอน 13.00    เวลาเข้าเรียน 12.50  เวลาออกจากห้องเรียน 16.00 น
Activity
วันนี้อาจาย์ให้จับกลุ่มเดิม คือ กลุ่มเขียนแผน 5 คน ทำการให้ความรู้ผู้ปกครอง โดยการทำแผ่นพับ ดังนี้
เทคนิคการสอนของอาจารย์

ใช้เทคนิคการสอนแบบร่วมมือ โดยการทำเป็นกลุ่ม เพื่อให้นักศึกษาได้ระดมความคิด

การประเมิน(Assessment)

การประเมินตนเอง

เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย ช่วยเพื่อนคิดในการทำแผ่นพับ

การประเมินเพื่อน
เพื่อนๆทุกคนตั้งใจเรียนดีค่ะ แต่งกายเรียบร้อยดี มีการแสดงความคิดเห็นกับเพื่อนและครู

การประเมินอาจารย์
วันนี้เป็นสัปดาห์สุดท้ายที่เรียน อาจารย์บอกแนวข้อสอบ และบอกแนวคิดการใช้ชีวิต

บันทึกการเรียนครั้งที่ 14

Science Experiences Management for Early Childhood

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ  
                     
     เวลาเข้าสอน 13.00    เวลาเข้าเรียน 12.50  เวลาออกจากห้องเรียน 16.00 น
Activity
วันนี้นำเสนอสื่อต่อสัปดาห์ที่แล้ว


จากนั้นอาจารย์ก็จัดกิจกรรมการทำวาฟเฟิล ซึ่งอาจารย์จะเน้นให้นักศึกษาได้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น การสังเกต  การทดลอง

ภาพบรรยากาศในการทำกิจกรรม
แนะนำวิธีการทำ
อาจารย์สาธิตให้นักศึกษาดูก่อน
นักศึกษาลงมือทำเอง
 การนำเสนอวิจัย
เรื่อง ความสามารถของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน ดูเพิ่มเติม

เทคนิคการสอนของอาจารย์
วันนี้อาจารย์มีเทคนิคที่ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง และสังเกตการเปลี่ยนแปลงทุกขั้นตอน

การประเมิน(Assessment)
การประเมินตนเอง
วันนี้แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา บันทึกสิ่งที่อาจารย์แนะนำเพิ่มเติม

การประเมินเพื่อน
เพื่อนๆทุกคนตื่นเต้นมาก ที่ครูจัดกิจกรรมให้พวกเรา ทำให้ไม่น่าเบื่อ เพื่อนส่วนใหญ่แต่งกายเรียบร้อย

การประเมินอาจารย์
อาจารย์มีสื่อการสอนที่หลากหลายน่าสนใจ ทำให้การเรียนไม่น่าเบื่อ

การนำไปประยุกต์ใช้
นำความรู้ที่ได้ไปใช้สอนเด็ก และนำเทคนิคดีๆไปปรับใช้ เช่น เทคนิคการสอน เทคนิคการเก็บเด็ก




บันทึกการเรียนครั้งที่ 13

Science Experiences Management for Early Childhood

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ  
                     
     เวลาเข้าสอน 13.00    เวลาเข้าเรียน 12.50  เวลาออกจากห้องเรียน 16.00 น
Avitity
วันนี้สอนต่อจากสัปดาห์ที่แล้วค่ะ ซึ่งเมื่อสัปดาห์ที่แล้วมีแต่กลุ่มน่าสนใจทั้งนั้นเลยค่ะ วันนี้เพื่อนๆจึงเตรียมตัวมาเป็นอย่างดี
1.unit Toothbrush
ชนิดของแปรงสีฟัน
 2.Unit Bananas
ชนิดของกล้วย
 3.Unit Butterfly

ลักษณะของผีเสื้อ


การนำเสนอวิจัย
1.เรื่อง การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย โดยใช้กระบวนการสอนแบบจิตปัญญา ศึกษาเพิ่มเติม

2.เรื่อง ความสามารถในการวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย ที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน  ศึกษาเพิ่มเติม

เทคนิคการสอนของอาจารย์
เปิดโอกาศให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็น และคิดต่างจากเพื่อนและครู และส่งเสริมการใช้คำถามเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
การประเมิน(Assessment)

การประเมินตนเอง
วันนี้ดิฉันมีการเตรียมตัวที่จะมาสอนอย่างดีค่ะ มีการซักซ้อมล่วงหน้า เข้าเรียนตรงเวลา สนใจสิ่งที่เพื่อนนำเสนอและที่ครูให้คำแนะนำ

การประเมินเพื่อน
เพื่อนทุกคนมีความตั้งใจมากๆในการนำเสนอถึงแม้จะออกมาไม่ดีเท่าที่ควร แต่ก็ยังสามารถพัฒนาได้

การประเมินอาจารย์
เข้าสอนตรงเวลา ปล่อยตรงเวลา มีการยกตัวอย่างเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจง่ายขึ้น

การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัยได้ทั้งเรื่อง เทคนิคการสอน การเก็บเด็ก




บันทึกการเรียนครั้งที่ 12

Science Experiences Management for Early Childhood

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ  
                     
     เวลาเข้าสอน 13.00    เวลาเข้าเรียน 12.40  เวลาออกจากห้องเรียน 16.00 น


Avitity
วันนี้เริ่มต้นชั่วโมงด้วยการให้นักศึกษาออกมาสอนหน้าชั้นเรียน ซึ่งมีหลายหน่วยน่าสนใจ เช่น หน่วยกบ(Frog) หน่วยปลา(Fish) หน่วยส้ม(Orange) ซึ่งดิฉันเก็บภาพบรรยากาศน่าประทับใจมาฝากดังนี้ค่ะ

1.Unit Chicken
วิธีการเลี้ยงดูไก่
 2.Unit Orange
ประโยชน์ของส้ม
 3.Unit Mackerel
ประโยชน์ของปลาทู
 4.Unit Collard
ประโยชน์และข้อควรระวังของกะหล่ำปลี
 5.Unit Frog
ส่วนประกอบของกบ
เทคนิคการสอนของอาจาย์
แนะนำขั้นตอน และวิธีการสอนที่ถูกต้องและเหมาะสมกับเด็กปฐมวัย และบูรณาการทักษะทางวิทยาศาสตร์ เช่น การสังเกต การเปรียบเทียบ
การประเมิน(Assessment)

การประเมินตนเอง

ร่วมกิจกรรมกับเพื่อน เวลาเพื่อนขออาสาสมัคร จะออกไปช่วยเพื่อนสมำเสมอค่ะ ร่วมตอบคำถามกับเพื่อนและครู

การประเมินเพื่อน
เพื่อนทุกกลุ่มเตรียมการสอนมาดีมากค่ะ มีความคิดสร้า
สรรค์ในการใช้คำถามปลายเปิด

การประเมินอาจารย์

อาจารย์มีความตั้งใจสอน และพยายามสอดแทรกเนื้อหาให้บูรณาการหลายๆด้าน เช่น คณิตศาสตร์

การนำไปประยุกต์ใช้

นำเทคนิคการสอนของเพื่อน และนำคำแนะนำของอาจารย์ไปแก้ไขปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น

บันทึกการเรียนครั้งที่ 11

Science Experiences Management for Early Childhood

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ  
                     
     เวลาเข้าสอน 13.00    เวลาเข้าเรียน 12.50  เวลาออกจากห้องเรียน 16.00 น
Avitity
วันนี้เริ่มต้นชั่วโมงด้วยการนำเสนอสื่อวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีสื่อที่หลากหลายน่าสนใจ มีทั้งหมวดน้ำ  หมวดอากาศ หมวดจุดศูนย์ถ่วง  และดิฉันก็เก็บภาพประทับใจมากฝากค่ะ
เพื่อนๆตั้งใจมากๆเลยค่ะ



สื่อของดิฉัน
ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์คือ เมื่อเราออกแรงหมุนวัตถุไปเรื่อยๆจนกระทั่งยางตึงจะสะสมในรูปแบบของพลังงานศักย์ และเมื่อเราปล่อยวัตถุแล้ววัตถุมีการเคลื่อนจะรูปแบบพลังงานจากพลังงานศักย์เป็นพลังงานจลน์
เทคนิคการสอนของอาจารย์
ให้นักศึกษามีส่วนร่วมทุกคน โดยการกระตุ้นด้วยการใช้คำถาม
การประเมิน(Assessment)
การประเมินตนเอง
วันนี้เข้าเรียนตรงเวลา  ตั้งใจเรียน พร้อมจดบันทึกตามที่ครูแนะนำความรู้เพิ่มเติมให้ และแต่งกายเรียบร้อยดีค่ะ

การประเมินเพื่อน
วันนี้เพื่อนส่วนใหญ่แต่งกายเรียบร้อย แต่มีเพื่อนส่วนหนึ่งแต่งกายไม่ค่อยเรียบร้อย ผมสี

การประเมินอาจารย์
อาจารย์ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ว่าสอนแบบนั้นจึงเหมาะสม และกระตุ้นให้นักศึกษาอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องวิทยาศาสตร์

การนำไปประยุกต์ใช้
สามารนำความรู้ที่ได้ไปใช้จัดประสบการณืให้กับเด็กปฐมวัยให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก และนำเทคนิคการนำเสนอของเพื่อนไปประยุกต์ใช้ให้ดียิ่งขึ้นๆไป